วันอาทิตย์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2563

ช้อสอบบทที่3 พันธะเคมี

 บทที่3


 1. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด

     1.   สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดสูง
     2.   สารประกอบไอออนิกเสถียรมาก เพราะมีแรงดึงดูด
ไฟฟ้าสถิตระหว่างไอออน
ต่างชนิดกันี่ี่
   3. สารประกอบไอออนิกมักจะเกิดระหว่างโลหะที่มี
พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ต่ำกับอโลหะที่มี
พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 สูง
  โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมีลักษณะ
โครงผลึกร่างตาข่าย แต่ละไอออนจะมีไอออนต่างชนิด
 ล้อมรอบอยู่ด้วยจำนวนคงที่เสมอ

 

          2. ชุดสารในข้อใดมีสารไอออนิกสารเดียวเท่านั้น

    2. 
    3. 
    4.

 

          3. สารประกอบชุดต่อไปนี้ ลำดับการจัดเรียงความเป็นสารไอออนิกจากมากไปน้อยที่ถูกต้องคือข้อใด

   1. 
    2. 
    3. 
 

 

          4. เลขอะตอมของ F และ Ca เท่ากับ 9 และ 20 ตามลำดับ ธาตุทั้งสองรวมกันเป็นสารประกอบไอออนิก การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออนทั้งสองเป็นดังข้อใด

    1. 
 
     3. 
     4. 

 

          5. สมการในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบ 

    1.   
    2.   
    3.
     

 

          6. ถ้า A, B, C และ D เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 7, 11, 17 และ 20 ตามลำดับ สูตรของไอออนและสารประกอบไอออนิกในข้อใดถูกต้อง

  
     2. 
     3. 
     4. 

 

          7. กำหนดปฏิกิริยาเคมีให้ดังนี้
            
พลังงานที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาที่กำหนดให้มีชื่อเรียงตามลำดับอย่างไร

    1.   พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน
   พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไฮเดรชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด
    3. สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน พลังงานไฮเดรชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการหลอมละลาย
    4.   สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด พลังงานพันธะ

 

          8. ถ้า XY เป็นสารประกอบไอออนิกที่มีแผนผังแสดงขั้นตอนการเกิด
              
          การเปลี่ยนแปลงพลังงานในขั้นใด มีการคายพลังงานและดูดพลังงานตามลำดับ

     1.  คายพลังงาน    2   ดูดพลังงาน    1
  คายพลังงาน    4    ดูดพลังงาน    3
     3. คายพลังงาน    5     ดูดพลังงาน    4
     4. คายพลังงาน    1,2   ดูดพลังงาน    6

 

          9. พิจาณาสมการย่อยแสดงการเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ต่อไปนี้
                    1. 
                    2. 
                    3. 
                    4. 
     จากสมการ  จะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานกี่กิโลจูล/ โมล

    ดูดพลังงาน 147
    2.   คายพลังงาน 147
    3. ดูดพลังงาน 450
    4.   คายพลังงาน 450

 

          10. การละลายของเกลือ LiCl (s) ในน้ำ มีขั้นตอนดังนี้
                  
              รวม 
           กำหนดให้พลังงานแลตทิซ =    พลังงานไฮเดรชัน =  อยากทราบว่าปฏิกิริยาทั้งสามเป็นปฏิกิริยาชนิดใดและขั้นตอนรวมมีพลังงานที่เกี่ยวข้องกี่กิโลจูลต่อโมล

          ข้อสรุปใดไม่สอดคล้องกับข้อมูลในตาราง

     1. 
     2. 
 
     4. 

 

          11. เอา  ใส่ในบีกเกอร์ที่มีน้ำอยู่พอประมาณ เมื่อ  ละลายน้ำ ปรากฏว่ามีหยดน้ำเกาะอยู่ข้างบีกเกอร์ และเมื่อจับบีกเกอร์ดูจะรู้สึกเย็น อธิบายปรากฏการณ์นี้ได้ว่า

     1.   พลังงานที่ใช้สลาย  ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สน้อยกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ไอออน ในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำ
 พลังงานที่ใช้สลาย  ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สมากกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ไอออน ในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำ
    3.   พลังงานที่ใช้สลาย  ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สสูงมากกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ ไอออนในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำน้อยมาก
     4.   ปรากฏการณ์นี้ยังอธิบายไม่ได้

 

          12. การที่สารใดสารหนึ่งไม่ละลายน้ำนั้น เป็นเพราะ

    1.   พลังงานของการละลายมีค่าเป็นลบ
   พลังงานไฮเดรชันของสารมีค่าน้อยกว่าพลังงานโครงร่างผลึกมาก
    3.   พลังงานของการละลายมีค่ากับพลังงานโครงร่างผลึก
    4. พลังงานไฮเดรชันของสารมีค่าเป็นลบ

 

          13. จากรูปกราฟ ข้อสรุปใดถูกต้อง


     1.   อุณหภูมิเพิ่ม สาร A ละลายได้ดีขึ้น แสดงว่าพลังงานแลตทิซน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน
   2.   การละลายของสาร A จะคายความร้อนและละลายได้มากขึ้น แสดงว่าพลังงานแลตทิซมากกว่า พลังงานไฮเดรชัน
  การละลายของสาร B จะคายความร้อน แสดงว่า พลังงานไฮเดรชันมากกว่าพลังงานแลตทิซ
    4. การละลายของสาร B จะดูดความร้อน แสดงว่า พลังงานแลตทิซน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน

 

          14. ปฏิกิริยาในข้อใดเกิดตะกอนทั้งสองปฏิกิริยา

    1.   
    2.   
    3. 
    

 

          15. ปฏิกิริยาในข้อใดที่สามารถเขียนสมการไอออนิกสุทธิแสดงการเกิดปฏิกิริยาได้ทั้งสองปฏิกิริยา

    1.   
 
    3. 
    4.   

 

          16. เมื่อผสมสารละลายแคลเซียมคลอไรด์กับโซเดียมฟอสเฟตเข้าด้วยกัน ข้อใดคือสมการไอออนิกแสดง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

    1.   
    2.   
  
    4. 

 

          17. ถ้าต้องการเตรียม จะต้องนำสารคู่ใดมาผสมกัน

    1.   
    2.   
    3.   
   

 

          18. ผลึกไอออนิกแตกหักเมื่อมีแรงเข้าไปกระทำเพราะเหตุใด

  ประจุชนิดเดียวกันผลักกัน
    2.  อิเล็กตรอนหลุดออกจากผลึก
    3.  จำนวนประจุบวกและลบไม่เท่ากัน
    4.  อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วขึ้น เนื่องจากมีพลังงานจลน์มากขึ้น

 

          19. ข้อใดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของของแข็งชนิดไอออนิก

    1.   เป็นผลึก
    2.   ละลายในน้ำได้
    3.   มีจุดหลอมเหลวสูง
  นำไฟฟ้าได้ดีเมื่อหลอมเหลว

 

          20. สาร A เป็นสารที่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง นำไฟฟ้าได้ดีทั้งในสถานะของแข็งและของเหลว อนุภาคสาร A ยึดเหนี่ยวกันไว้ด้วยพันธะชนิดใด

    1.   พันธะโคเวเลนต์
    2. พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
    3.   พันธะไอออนิก
   พันธะโลหะ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ช้อสอบบทที่3 พันธะเคมี

 บทที่3   1. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด      1.   สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดสูง      2.   สารประกอบไอออนิกเสถียรมาก เพราะมีแรงดึงดูด ไฟฟ้าสถิต...