บทที่3
1. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด
1. สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดสูง |
2. สารประกอบไอออนิกเสถียรมาก เพราะมีแรงดึงดูด ไฟฟ้าสถิตระหว่างไอออน ต่างชนิดกันี่ี่ |
3. สารประกอบไอออนิกมักจะเกิดระหว่างโลหะที่มี พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ต่ำกับอโลหะที่มี พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 สูง |
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมีลักษณะ โครงผลึกร่างตาข่าย แต่ละไอออนจะมีไอออนต่างชนิด ล้อมรอบอยู่ด้วยจำนวนคงที่เสมอ |
2. ชุดสารในข้อใดมีสารไอออนิกสารเดียวเท่านั้น
. |
2. |
3. |
4. |
3. สารประกอบชุดต่อไปนี้ ลำดับการจัดเรียงความเป็นสารไอออนิกจากมากไปน้อยที่ถูกต้องคือข้อใด
1. |
2. |
3. |
4. เลขอะตอมของ F และ Ca เท่ากับ 9 และ 20 ตามลำดับ ธาตุทั้งสองรวมกันเป็นสารประกอบไอออนิก การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออนทั้งสองเป็นดังข้อใด
1. |
3. |
4. |
5. สมการในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบ
1. |
2. |
3. |
6. ถ้า A, B, C และ D เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 7, 11, 17 และ 20 ตามลำดับ สูตรของไอออนและสารประกอบไอออนิกในข้อใดถูกต้อง
2. |
3. |
4. |
7. กำหนดปฏิกิริยาเคมีให้ดังนี้
พลังงานที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาที่กำหนดให้มีชื่อเรียงตามลำดับอย่างไร
1. พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน |
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไฮเดรชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด |
3. สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน พลังงานไฮเดรชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการหลอมละลาย |
4. สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด พลังงานพันธะ |
8. ถ้า XY เป็นสารประกอบไอออนิกที่มีแผนผังแสดงขั้นตอนการเกิด
การเปลี่ยนแปลงพลังงานในขั้นใด มีการคายพลังงานและดูดพลังงานตามลำดับ
1. คายพลังงาน 2 ดูดพลังงาน 1 |
คายพลังงาน 4 ดูดพลังงาน 3 |
3. คายพลังงาน 5 ดูดพลังงาน 4 |
4. คายพลังงาน 1,2 ดูดพลังงาน 6 |
9. พิจาณาสมการย่อยแสดงการเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ต่อไปนี้
1.
2.
3.
4.
จากสมการ จะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานกี่กิโลจูล/ โมล
ดูดพลังงาน 147 |
2. คายพลังงาน 147 |
3. ดูดพลังงาน 450 |
4. คายพลังงาน 450 |
10. การละลายของเกลือ LiCl (s) ในน้ำ มีขั้นตอนดังนี้
รวม
กำหนดให้พลังงานแลตทิซ = พลังงานไฮเดรชัน = อยากทราบว่าปฏิกิริยาทั้งสามเป็นปฏิกิริยาชนิดใดและขั้นตอนรวมมีพลังงานที่เกี่ยวข้องกี่กิโลจูลต่อโมล
ข้อสรุปใดไม่สอดคล้องกับข้อมูลในตาราง
1. |
2. |
4. |
11. เอา ใส่ในบีกเกอร์ที่มีน้ำอยู่พอประมาณ เมื่อ ละลายน้ำ ปรากฏว่ามีหยดน้ำเกาะอยู่ข้างบีกเกอร์ และเมื่อจับบีกเกอร์ดูจะรู้สึกเย็น อธิบายปรากฏการณ์นี้ได้ว่า
1. พลังงานที่ใช้สลาย ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สน้อยกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ไอออน ในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำ |
พลังงานที่ใช้สลาย ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สมากกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ไอออน ในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำ |
3. พลังงานที่ใช้สลาย ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สสูงมากกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ ไอออนในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำน้อยมาก |
4. ปรากฏการณ์นี้ยังอธิบายไม่ได้ |
12. การที่สารใดสารหนึ่งไม่ละลายน้ำนั้น เป็นเพราะ
1. พลังงานของการละลายมีค่าเป็นลบ |
พลังงานไฮเดรชันของสารมีค่าน้อยกว่าพลังงานโครงร่างผลึกมาก |
3. พลังงานของการละลายมีค่ากับพลังงานโครงร่างผลึก |
4. พลังงานไฮเดรชันของสารมีค่าเป็นลบ |
13. จากรูปกราฟ ข้อสรุปใดถูกต้อง
1. อุณหภูมิเพิ่ม สาร A ละลายได้ดีขึ้น แสดงว่าพลังงานแลตทิซน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน |
2. การละลายของสาร A จะคายความร้อนและละลายได้มากขึ้น แสดงว่าพลังงานแลตทิซมากกว่า พลังงานไฮเดรชัน |
การละลายของสาร B จะคายความร้อน แสดงว่า พลังงานไฮเดรชันมากกว่าพลังงานแลตทิซ |
4. การละลายของสาร B จะดูดความร้อน แสดงว่า พลังงานแลตทิซน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน |
14. ปฏิกิริยาในข้อใดเกิดตะกอนทั้งสองปฏิกิริยา
1. |
2. |
3. |
15. ปฏิกิริยาในข้อใดที่สามารถเขียนสมการไอออนิกสุทธิแสดงการเกิดปฏิกิริยาได้ทั้งสองปฏิกิริยา
1. |
3. |
4. |
16. เมื่อผสมสารละลายแคลเซียมคลอไรด์กับโซเดียมฟอสเฟตเข้าด้วยกัน ข้อใดคือสมการไอออนิกแสดง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
1. |
2. |
4. |
17. ถ้าต้องการเตรียม จะต้องนำสารคู่ใดมาผสมกัน
1. |
2. |
3. |
18. ผลึกไอออนิกแตกหักเมื่อมีแรงเข้าไปกระทำเพราะเหตุใด
ประจุชนิดเดียวกันผลักกัน |
2. อิเล็กตรอนหลุดออกจากผลึก |
3. จำนวนประจุบวกและลบไม่เท่ากัน |
4. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วขึ้น เนื่องจากมีพลังงานจลน์มากขึ้น |
19. ข้อใดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของของแข็งชนิดไอออนิก
1. เป็นผลึก |
2. ละลายในน้ำได้ |
3. มีจุดหลอมเหลวสูง |
นำไฟฟ้าได้ดีเมื่อหลอมเหลว |
20. สาร A เป็นสารที่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง นำไฟฟ้าได้ดีทั้งในสถานะของแข็งและของเหลว อนุภาคสาร A ยึดเหนี่ยวกันไว้ด้วยพันธะชนิดใด
1. พันธะโคเวเลนต์ |
2. พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ |
3. พันธะไอออนิก |
พันธะโลหะ |